Heart of Early Childhood : หัวใจของวัยอนุบาล

กองบรรณาธิการ เรื่อง

กฤตพร โทจันทร์ ภาพประกอบ

กมลชนก คัชมาตย์ ภาพวิดีโอ

เด็กเล็กวัยอนุบาลวิ่งเล่นหกล้มร้องไห้ ไม่ใช่เรื่องน่าตกอกตกใจ แต่ถ้าเด็กวัยนี้ต้องร้องไห้เพราะถูกบังคับให้ท่องจำ เรียนพิเศษ ทำการบ้าน นั่งหลังขดหลังแข็งเป็นชั่วโมงๆ เพื่อการสอบแข่งขันเข้าเรียนชั้น ป.1 ไม่น่าใช่ความปกติ!

ยังไม่นับว่าความเครียดและการเสียน้ำตาดังกล่าวจะส่งผลต่ออนาคตชีวิตเด็กๆ อย่างไร หากว่ากุลบุตร-กุลธิดา สอบไม่ผ่าน, แล้วใครคือผู้ร้ายที่ซ่อนอยู่ในน้ำตาเด็กน้อยเหล่านั้น, พ่อแม่ ? ครู ? โรงเรียน ? ตัวเด็ก ? ครอบครัว ? เวรกรรม ? ฯลฯ

เปล่าประโยชน์จะหาตัวผู้กระทำผิดแล้วจับมาประณามลงโทษ ทว่าหากเราๆ ท่านๆ เห็นพ้องตรงกันว่าเบ้าหลอมที่ดีและเหมาะสม จะสร้างเด็กเล็กให้เติบโตไปเป็นผู้ใหญ่ที่เข้าท่า ก็ควรกลับมาที่โจทย์ว่าเบ้าหลอมแห่งพัฒนาการของเด็กปฐมวัย อยู่ที่ไหน การสอบแข่งขันอย่างที่เป็นอยู่ใช่คำตอบสุดท้ายหรือยัง

101 ชวนเปิดใจคนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างพัฒนาการเด็กปฐมวัย ในเรื่อง ‘Heart of Early Childhood : หัวใจของวัยอนุบาล’ หนึ่งในซีรีส์ ‘สนามเด็กเล็ก : ทุกข์หรือสุขของพ่อแม่’ ประจำเดือนกันยายน


วิจัย/เขียน

คิด for คิดส์

บทความที่เกี่ยวข้อง

ชายแดน/เมืองหลวง: สองขั้วปัญหาเด็กหลุดระบบการศึกษาไทย

เด็กไทยหลุดจากระบบการศึกษา 1 ล้านคน ปัญหารุนแรงที่สุดในพื้นที่ชายแดนติดเทือกเขาสูง และในใจกลางเมืองหลวงของประเทศ

บาดแผลรัฐประหารในบ้าน: 10 ปีของการใช้ครอบครัวเป็นเครื่องมือกดปราบประชาชน

บาดแผลรัฐประหารในบ้าน: 10 ปีของการใช้ครอบครัวเป็นเครื่องมือกดปราบประชาชน

รัฐบีบคั้นและแทรกแซงความสัมพันธ์ในครอบครัวคนไทยตลอด 10 ปีที่ผ่านมา และยังคงสืบทอดวิธีการเช่นนั้นมากระทั่งภายหลังการเลือกตั้งครั้งล่าสุด

ให้เด็กได้เบ่งบานนอกสถานรองรับ: แนวทางการเปลี่ยนผ่านสู่การเลี้ยงดูแบบครอบครัว

คิด for คิดส์ ชวนอ่านปัญหาการพัฒนาครอบครัวอุปถัมภ์ไทยที่ส่งผลให้เด็กไทยจำนวนมากไม่ได้รับการเลี้ยงดูในครอบครัวอย่างที่ควรจะเป็น

ศูนย์ความรู้นโยบายเด็กและครอบครัว (คิด for คิดส์)

ศูนย์วิจัยและสื่อสารความรู้เพื่อตอบโจทย์อนาคต มุ่งวิเคราะห์ ออกแบบ เผยแพร่ความรู้ และขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะด้านเด็ก เยาวชน ครอบครัว และการเรียนรู้ เพื่อเป็นฐานสนับสนุนทางวิชาการให้กับสำนักสนับสนุนสุขภาวะเด็ก เยาวชน และครอบครัว สสส. และภาคีเครือข่าย

Copyright © 2024 kidforkids.org | All rights reserved.