“ไม่มีอะไรโหดร้ายกว่าการที่เด็กไม่มีความฝัน”

“ไม่มีอะไรโหดร้ายกว่าการที่เด็กไม่มีความฝันอีกแล้ว”“เด็กสมัยนี้ตาสว่างแล้ว”“ความฝันของเราคือการโตไปแล้วใช้ ‘นางสาว’ เราไม่อยากใช้ ‘นาย‘”
ฯลฯเหล่านี้คือบางเสียงและบางฝันของ ‘เด็กสมัยนี้’.
จากที่ผู้ใหญ่บอกว่า “เด็กสมัยนี้สบายจะตาย” “เด็กสมัยนี้ไม่มีความอดทน” “เด็กสมัยนี้ผิดเพศ” “เด็กสมัยนี้ไม่รักชาติ”

คำถามคือเด็กสมัยนี้เป็นอย่างที่เขาว่าจริงหรือ? หรือเขามีความฝันความหวังหลายอย่างที่จำต้องเก็บไว้ในใจ

สังคมแบบไหนที่เด็กไทยเผชิญอยู่ เมื่อเด็กหลายคนต้องเจอแรงกดดันหลายด้าน ทั้งเรื่องการเรียน อาชีพที่มั่นคง ต้องมีความสามารถรอบด้าน พื้นที่ปลอดภัยในบ้าน ไปจนถึงเรื่องตัวตนทางเพศ ที่ไม่อาจเป็นได้อย่างที่อยากเป็น

101 ชวนรับฟังเรื่องเล่าของ ‘เยาวรุ่น’ ผ่านผลงานที่ชนะเลิศการประกวด ‘เรื่องเล่าของ ‘เด็กสมัยนี้‘’ ของ คิด for คิดส์ – ศูนย์ความรู้นโยบายเด็กและครอบครัว โดย สสส. และ 101 PUB ว่าด้วยชีวิตและความฝันของพวกเขา

…….

รับชมผลงานประกวดทั้งหมดได้ ที่นี่

อ่านรายงานสถานการณ์เด็กและครอบครัวประจำปี 2022 โดย ‘คิด for คิดส์’ ได้ที่นี่

รับชมงานเสวนาสาธารณะ เด็กและครอบครัวไทยในสามวิกฤต: รายงานสถานการณ์เด็กและครอบครัว ประจำปี 2022 ได้ที่ https://fb.watch/f4caetaaWN/

สร้างสรรค์วิดีโอ

กมลชนก คัชมาตย์

สร้างสรรค์วิดีโอ

เมธิชัย เตียวนะ

สร้างสรรค์วิดีโอ

กอบบุญ บูรโชควิวัฒน์

สร้างสรรค์วิดีโอ

วรดร เลิศรัตน์

สร้างสรรค์วิดีโอ

เจณิตตา จันทวงษา

สร้างสรรค์วิดีโอ

ธนกร เนตรจอมไพร

บทความที่เกี่ยวข้อง

ปรึกษาหัวใจกับใครก็เหมือนกัน? แนวทางกำกับมาตรฐานนักจิตวิทยาการปรึกษา-จิตบำบัดอย่างสมดุล

ปัญหาการอวดอ้างชื่อและล่วงละเมิดผู้รับบริการ เรียกร้องให้ต้องมีการกำกับนักจิตวิทยาการปรึกษา/จิตบำบัด แต่การสร้างมาตรฐานให้การดูแลหัวใจอาจไม่ง่ายอย่างที่คิด

ต้องพิการแค่ไหนรัฐไทยถึงมองเห็น

ในปัจจุบันยังมีผู้พิการจำนวนมากที่ไม่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นผู้พิการในระบบของภาครัฐ ขอเชิญชวนทุกท่านมาทำความเข้าใจสาเหตุที่ผู้พิการจำนวนมากตกหล่นไม่ได้รับสวัสดิการ และหาแนวทางที่จะทำให้ผู้พิการได้รับการช่วยเหลืออย่างที่สมควรได้รับ

ความเสี่ยงซึมเศร้า ติดตัวเรามาตั้งแต่เกิด?

ความเสี่ยงซึมเศร้า ติดตัวเรามาตั้งแต่เกิด?

ความเข้มแข็ง-อ่อนแอในจิตใจคนเราเริ่มขึ้นตั้งแต่เมื่อไหร่ เราฝึกฝนกำหนดใจเราเองได้แค่ไหน? นโยบายของรัฐควรมีบทบาทอย่างไรกับปัจจัยที่เกินการควบคุมของปัจเจกบุคคล?

ศูนย์ความรู้นโยบายเด็กและครอบครัว (คิด for คิดส์)

ศูนย์วิจัยและสื่อสารความรู้เพื่อตอบโจทย์อนาคต มุ่งวิเคราะห์ ออกแบบ เผยแพร่ความรู้ และขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะด้านเด็ก เยาวชน ครอบครัว และการเรียนรู้ เพื่อเป็นฐานสนับสนุนทางวิชาการให้กับสำนักสนับสนุนสุขภาวะเด็ก เยาวชน และครอบครัว สสส. และภาคีเครือข่าย

Copyright © 2024 kidforkids.org | All rights reserved.